เมนูหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลการประกันคุณภาพ
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา
ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับวิชาการ
ข้อมูลครุภัณฑ์หน่วยงาน
ข้อมูลอาคารและสิ่งก่อสร้าง
ข้อมูลผลงานประเภทต่างๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน
ปฏิทินการแจ้งซ่อมครุภัณฑ์
ปฏิทินการขอใช้รถยนต์ราชการ
ปฏิทินการขอใช้ห้องประชุม
แผนภูมิแสดงข้อมูลงานวิจัย
แผนภูมิแสดงข้อมูลครุภัณฑ์
แผนภูมิแสดงแผนปฎิบัติการ
ดาว์โหลดเอกสารประเภทต่างๆ
สายตรงผู้อำนวยการ
   
เข้าระบบ
   
 
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
 
counter
   
หน้าหลัก » รายละเอียด
 
‹ ย้อนกลับ
 
หน่วยงาน : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี
ประเภทผลงาน : โครงการวิจัย
ชื่อผลงาน: การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนในเขตอำเภเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
  เป็นผลงานที่อยู่ในแผนส่งเสริมการนำเสนอผลงานวิชาการของวิทยาลัย
  ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากวิทยาลัยและ/หรือหน่วยงานอื่นๆ ในการไปนำเสนอผลงานวิชาการ
ชื่อผู้ทำวิจัย สถานะการทำวิจัย สัดส่วน
นางสาว สินีพร  ยืนยง หัวหน้าวิจัย
กลุ่มสาขาวิชาการ : การพยาบาลอนามัยชุมชนและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
    ความสำคัญและที่มาของปัญหา :
   ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาปัจจุบันภาวะอ้วนถือเป็นปัญหาที่มีความสำคัญ ประเทศไทยพบแนวโน้มปัญหานาหนักเกินและโรคอ้วนของเด็กปฐมวัยร้อยละ 5.8 ในปี พ.ศ. 2540 เป็นร้อยละ 7.9 โน ปี พ.ศ. 25441 โดยที่ในกลุ่มเด็กปฐมวัยอายุ 1-5 ปีมีปัญหา ขาดสารอาหารลดลงพบปัญหาป้าหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนี่องจากร้อยละ 5.8 ในป็ พ.ศ. 2539-2540 เป็น ร้อยละ 8.5 ในปิ พ.ศ. 2551-2552 เท่ากับเพิ่มขึ้น 1.5 เท่า หรีอร้อยละ 150 ในรอบ 14 ปี2โรคอ้วนในวัยเด็กเป็นตันเหตุของปัญหาสุขภาพหลาย ระบบโดยพบว่าร้อยละ 30-80 ของเด็กเหล่านี้เมื่อเติบโต เป็นผู้ใหญ่ก็ยังคงอ้วนและมักจะป่วยด้วยโรคหัวใจและ หลอดเล็อดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง2สาเหตุ ของโรคอ้วนในเด็กเกิดจากการที่เด็กมีพฤติกรรมการบริโภค ที่ไม่เหมาะสม เช่น งดบริโภคอาหารบางมิ้อรับประทานชนม ขบเคี้ยวและอาหารที่มีไขมันมากขึ้นออกกำลังกายน้อย ไม่ ยอมกินผัก-ผลไมโดยเฉพาะเด็กเล็กกินผักน้อยมาก รวมทั้งมี การส่งเสริมทางอ้อม เช่น มีการจำหน่ายป้าหวาน น้ำอัดลม น้ำผลไม้ขนมและอาหารที่มีไขมันและป้าตาลสูงในโรงเรียน ทุกวัน3 คาดว่าในอีก 10 ปีข้างหน้า 1 ใน 5 ของเด็กปฐมวัย จะเป็นโรคอ้วน อันเนี่องมาจากการบริโภคขนม อาหารที่ ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการและขาดการออกกำลังกาย4 ซึ่ง แสดงให้เห็นว่าอัตราของเด็กที่มีภาวะอ้วนของประเทศไทยมี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจส่งผลให้มีจำนวน ประชากรวัยผู้ใหญ่ของประเทศที่มีภาวะอ้วนสูงขึ้นตามไป ด้วย โดยผลการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ผู้ใหญ่ที่อ้วนประมาณ ร้อยละ 50 - 65 เคยเป็นเด็กอ้วนมาก่อน5 จากรายงานการ ศึกษาติดตามเด็กที่มีภาวะอ้วนพบว่า ภาวะอ้วนส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและเศรษฐกิจทั้งในระยะสันและระยะยาวจนเกิดปัญหาสุขภาพ ในเด็กตามมา ชึ่งเป็นพลมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณไขมัน ที่สะสมจำนวนเซลล์ไขมันและสารต่างๆ ที่สร้างจากเซลล์ไขมันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเมแทบอลิซึม6 ทำให้เสี่ยง ต่อโรคเรื้อรังชนิดไม่ติดต่อที่รุนแรง เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะไขมันโนเลีอดสูง โรคความดันโลหิตสูง โรคหืดภาวะ หยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นต้น7สำหริบปัจจัยที่มีผลต่อความอ้วน ลัดดา เหมาะสุวรรณ8 รายงานว่าเด็กอ้วนมักจะมีพฤติกรรมการรับประทานอาทาร ที่ติดหวาน ชอบริบประทานขนมกรุบกรอบ อาหารตะวันตก ปัจจุบันภาวะอ้วนถีอเป็นปัญหาที่มีความสำคัญ ประเทศไทยพบแนวโน้มปัญหานาหนักเกินและโรคอ้วนของ เด็กปฐมวัยร้อยละ 5.8 ในปี พ.ศ. 2540 เป็นร้อยละ 7.9 โน ปี พ.ศ. 25441 โดยที่ในกลุ่มเด็กปฐมวัยอายุ 1-5 ปีมีปัญหา ขาดสารอาหารลดลงพบปัญหาป้าหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนี่องจากร้อยละ 5.8 ในป็ พ.ศ. 2539-2540 เป็น ร้อยละ 8.5 ในปิ พ.ศ. 2551-2552 เท่ากับเพิ่มขึ้น 1.5 เท่า หรีอร้อยละ 150 ในรอบ 14 ปี2โรคอ้วนในวัยเด็กเป็นตันเหตุของปัญหาสุขภาพหลาย ระบบโดยพบว่าร้อยละ 30-80 ของเด็กเหล่านี้เมื่อเติบโต เป็นผู้ใหญ่ก็ยังคงอ้วนและมักจะป่วยด้วยโรคหัวใจและ หลอดเล็อดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง2สาเหตุ ของโรคอ้วนในเด็กเกิดจากการที่เด็กมีพฤติกรรมการบริโภค ที่ไม่เหมาะสม เช่น งดบริโภคอาหารบางมิ้อรับประทานชนม ขบเคี้ยวและอาหารที่มีไขมันมากขึ้นออกกำลังกายน้อย ไม่ ยอมกินผัก-ผลไมโดยเฉพาะเด็กเล็กกินผักน้อยมาก รวมทั้งมี การส่งเสริมทางอ้อม เช่น มีการจำหน่ายป้าหวาน ป้าอัดลม ป้าผลไม้ขนมและอาหารที่มีไขมันและป้าตาลสูงในโรงเรียน ทุกวัน3 คาดว่าในอีก 10 ปีข้างหน้า 1 ใน 5 ของเด็กปฐมวัย จะเป็นโรคอ้วน อันเนี่องมาจากการบริโภคขนม อาหารที่ ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการและขาดการออกกำลังกาย4 ซึ่ง แสดงให้เห็นว่าอัตราของเด็กที่มีภาวะอ้วนของประเทศไทยมี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจส่งผลให้มีจำนวน ประชากรวัยผู้ใหญ่ของประเทศที่มีภาวะอ้วนสูงขึ้นตามไป ด้วย โดยผลการสืกบาที่ผ่านมา,พบว่า ผู้ใหญ่ที่อ้วนประมาณ ร้อยละ 50 - 65 เคยเป็นเด็กอ้วนมาก่อน5 จากรายงานการ สืกษาติดตามเด็กที่มีภาวะอ้วนพบว่า ภาวะอ้วนส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ลังคมและ เศรษฐกิจทั้งในระยะสับและระยะยาวจนเกิดปัญหาสุขภาพ ในเด็กตามมา ชึ่งเรนพลมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณไขมัน ที่สะสมจำนวนเชลล!ขมันและสารต่างๆ ที่สร้างจากเชลสํ ไขมันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเมแทบอลช็ม6 ทาให้เส์ยง ต่อโรคเรื้อรังชน้ดไม่ติดต่อที่รุนแรง เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะไขมันโนเลีอดสูง โรคความดันโลหิตสูง โรคหีดภาวะ หยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นต้น7สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อความอ้วน ลัดดา เหมาะสุวรรณ8 รายงานว่าเด็กอ้วนมักจะมีพฤติกรรมการริบประทานอาทาร ที่ติดทวาน ชอบริบประทานขนมกรุบกรอบ อาหารตะวันตกประเภทส่งด่วน ดึ่มป้าอัดลม พฤติกรรมการทำกิจกรรมทึ่มีการเคลี่อนไหวน้อย โดยเฉพาะการดูโทรทัศน์และเล่นเกมส์ คอมพิวเตอร์เมื่ออยู่ที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่เด็ก สมส่วนมักจะมีพฤติกรรมที่ริบประทานอาหารที่ไม่หวานมาก มีกิจกรรมที่ต้องออกแรงในระดับปานกลางถ็งมาก ซึ่งเป็น กิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวร่างกายเกือบทุกส่วน โดยจะใช้ เวลาส่วนใหญ่ในการทำกิจกรรมดังกล่าวในแต่ละะวัน8 และผลการวิจัยพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลของเด็ก มารดาและครอบครัวมีความสัมพันธ์กับโรคอ้วน โดยปัจจัยด้านเด็ก ได้แก่ น้ำหนักแรกเกิด9-10 ระยะเวลาการได้รับนมมารดา10-11 พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็ก8 ปัจจัยด้านมารดา ได้แก่ ดัชนีมวลกาย12'13 ระดับการสืกษาและอาชิพของ มารดา10-1'1''5 ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่ ความเพียงพอของ รายไต้ครอบครัว พฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรม การทำกิจกรรมของครอบครัว10 ซึ่งปัจจัยดังกล่าวล้วนเป็นสิ่งที่มีผลต่อการเกิดภาวะอ้วนในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเดก ก่อนวัยเรียนที่ไต้รับรทธิพลจากการเลี้ยงดูของครอบครัว โดยตรง เพราะมารดาหรีอครอบครัวย่อมเลี้ยงดูและมีคาาม ใกล้ชิดกับตัวเด็ก สอดคล้องตามกรอบแนวคิดทฤพฏื นิเวศวิทยาทางสังคมของ Bronfenbrenner16 ที่กล่าวว่าสิ่งที่ จะมีผลต่อการเกิดภาวะสุขภาพในเด็กได้นั้น เกิดจาก สิ่งแวดล้อมที่ล้อมรอบตัวเด็กในหลายระดับ แต่สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนชี่งมีความพี่งพิงสูงนั้น สิ่งที่มีความสัมพันธ์ และมีความใกล้ชิดกับเด็กคือปัจจัยด้านตัวเด็ก มารดาและ ครอบครัวซึ่งมีอิทธิพลต่อเด็กโดยตรง16จากสถิติการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2552 พบมีภาวะโภชนาการเกินจนถึงอ้วนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.8 15.3 และ 18.5 ตามลำดับ17 และจากผลการสำรวจเด็กก่อนวัยเรียนในขั้นอนุบาลปีที่ 1-3 ของโรงเรียนในเขตอำเภอเมือง จังทวัดสุพรรณบุรี ที่อยู่ในความริบผิดชอบของโรงพยาบาลศูนยเจ้าพระยายมราช พบว่าเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินและมีภาวะอ้วนสูงขึ้นจากร้อยละ 25.78 ในปี พ.ศ. 2551 เป็นร้อยละ 26.82 ในปี พ.ศ. 2552 โดยเป็นเด็กที่มีภาวะอ้วนร้อยละ13.6218 ซึ่งทอได้ว่าเป็นอัตราที่ค่อนข้างสูงขึ้นตามลำดับผู้วิจัยในฐานะเป็นบุคลากรที่ดูแลสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนและวัยเรียน ในโรงเรียนเขตอำเภอเมีอง จังหวัด สุพรรณบุรี ได้ซักกถามพูดคุยกับครูผู้ดูแลเด็กของโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่ทั้งทมดจำนวน 4 โรงเรียนเกี่ยวกับภาวะ โภชนาการของเด็ก และประเมินจากบันทึกการชั่ังน้ำหนัก และส่วนสูงของเด็กที่ครูได้ดำเนินการในรอบหนึ่งเดีอนที่ ผ่านอย่างคร่าวๆ พบมีเด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ มาตรฐานอยู่จำนวนมากพอควร เด็กมักน้ำขนมกรุบกรอบ ติดตัววจากบ้าน และ/หรีอชึ้อขนมหวาน อาหารทอดย่างกิน เพึ่มเติมจากอาหารมื้อหลักที่ได้รับ เพี่อทราบข้อมูลที่เป็น แนวทางในการแก้ไขได้ตรงประเด็นในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ผู้วิจัยจังสนใจสืกษาปัจจัยที่เกี่ยวช้องกับภาวะโภชนาการใน เด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งมีความใกล้ชิดกับเด็กมากที่สุดได้แก่ ปัจจัยด้านเด็กสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กคือ ด้านมารดาและ ด้านครอบครัว เช่น พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การ เคลึ่อนไหวของร่างกายในการทำกิจกรรมประจำวัน ซึ่งศึกษา ตามแนวคิดทฤษฎีนิเวศวิทยาทางลังคมของ Bnonfenbrenner16 โดยเปรียบเทียบระหว่างเด็กที่มีภาวะโภชนาการรวนกับเด็กที่มีภาวะโภชนาการสมส่วน
     
    วัตถุประสงค์ของโครงการ
    วัตถุประสงค์ของการวิจัย1.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กก่อนวัยเรียน2.เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยด้านเด็ก มารดา และครอบครัวในเด็กก่อนวัยเรียนของเด็กที่มีภาวะอ้วนและภาวะสมส่วน
    ขอบเขตของโครงการผลงาน
    ขอบเขตการวิจัยการศึกษาในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนที่อยู่ในภาวะอ้วนและสมส่วนในช่วงอายุ 3- 6 ปี ทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 1-3 ของโรงเรียนรัฐบาลและเอกชนขนาดใหญ่จำนวน 4 แห่งที่อยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
    ผลที่คาดว่าจะได้รับ
    1.ด้านการปฏิบัติทางการพยาบาล นำผลการวิจัยที่ได้ไปเป็นแนวทางในการวางแผนแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กโดยเฉพาะภาวะอ้วนในเด็กก่อนวัยเรียน รวมทั้งนำเสนอผลการวิจัยต่อผู้บริหารในระดับโรงเรียนและจังหวัด เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพเด็กอย่างเหมาะสมกับบริบทของเด็กต่อไป 2.ด้านการศึกษาพยาบาล นำผลจากการวิจัยมาใช้สอนนักศึกษาเพื่อการดูแลสุขภาพของประชาชนในการป้องกันโรคอ้วนตั้งแต่วัยเด็กอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 3. ด้านการวิจัยนำผลที่ได้จากการวิจัยไปใช้ในการทำวิจัยต่อยอดเพื่อขยายประโยชน์ต่อไป
     นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  : -
    บทคัดย่อ
   

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพี่อศึกษาพฤติกรรมการบรีโภคอาหารของเด็กก่อนวัยเรียน และเปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนและสมส่วน

รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนาเปรียบเทียบ

วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาและเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3-6 ปี จำนวน 144 คู่ โดยแบ่งเป็นกลุ่มเด็กที่มีภาวะโภชนาการอ้วน 72 คน และภาวะโภชนาการสมส่วน 72 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมารดาเกี่ยวกับ ปัจจัยด้านเด็ก ด้านมารดา และด้านครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา การทดสอบไคสแควร์และทดสอบที

ผลการวิจัย: เด็กก่อนวัยเรียน 144 คนมีพฤติกรรมการบริโภคถูกต้องในระดับปานกลางร้อยละ 74.3 ถูกต้องระดับน้อย ร้อยละ 12.5 เด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการแตกต่างกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .05) ใน เรื่องของน้ำหนักแรกเกิด การได้รับนมมารดาช่วงอายุ 4 เดือนแรกพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็ก ดัชนีมวลกายของมารดาและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของครอบครัว ส่วนระดับการศึกษาและลักษณะอาชีพของมารดา ความเพียงพอของ รายได้ครอบครัวและพฤติกรรมการทำกิจกรรมของครอบครัวของเด็กทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p > .05)

สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยทำให้เห็นถึงความสำคัญของการจัดกิจกรรมการพยาบาลที่ส่งเสริมดูแลสุขมารดา ขณะตั้งครรภ์และทารกในครรภ์เพี่อการเจริญเติบโตและน้ำหนักแรกเกิดเป็นไปตามเกณฑ์ การเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาให้นานที่สุด การแบบอย่างที่ดีของสมาชิกโนครอบครัวเกี่ยวกับบริโภคนิสัย การออกกำลังกาย การมีพฤติกรรมบริโภคและการ ออกกำลังกายที่เหมาะสม เพี่อแก้ไขและป้องกันภาวะโภชนาการเกินต่อไป

คำสำคัญ: การบริโภคอาหาร เด็กก่อนวัยเรียน ภาวะอ้วน

Abstract

Purpose: To study the food consumption behavior of preschool children and comparing the factors related to the nutritional status between preschool children with obese and normal weight

Design: Descriptive comparative study.

Methods: The study sample included 144 dyads of mothers and their children aged 3-6 years divided into obese and normal weight children with 72 each. A set of questionnaires were distributed to the mothers asking about child, mother, and family factors. Data were analyzed using descriptive statistics, chi-square test, and t-test.

Main findings: Among 144 preschool children, 74.3% of them had food consumption behavior at moderate level, and 12.5 percent at low level. It was further found that the following factors were significantly different between the obese and the normal weight preschool children (p < .05): birth weight, breast feeding during early four months, food consumption behavior of children, maternal body mass index, and food consumption behavior of family. However, the mother’s education and occupation, sufficient family income, family activities, did not differ in both groups (p > .05).

Conclusions and recommendations: The study results suggest the importance of nursing interventions that promote antenatal care for desired fetal growth and birth weight, breast feeding as long as possible, roles of family members as a good model of food consumption behavior, and proper physical activities to correct and prevent overweight.

Keywords ; food consumption, preschool children, obesity

ดาว์โหลดไฟล์บทคัดย่อ :  ดาวน์โหลดไฟล์ บทคัดย่อ อ.ใต้ ลงฐานข้อมูล.pdf
 
 
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ ปี พ.ศ คะแนน วันที่เผยแพร่ โหลด
 
  การเผยแพร่บทความวิชาการ ปี พ.ศ คะแนน วันที่เผยแพร่ โหลด
 
       บูรณาการกับโครงการบริการวิชาการ             ความร่วมมืองานวิจัยกับบุคคลภายนอก
ปีปฏิทิน :
ปีการศึกษา : 2553
ปีงบประมาณ : 2554
วันที่เริ่ม : 0 0    วันที่แล้วเสร็จ : 0 0
แหล่งเงินทุน  
ภายใน จำนวนเงิน 0.00 บาท
ภายนอก จำนวนเงิน 0.00 บาท ทุนส่วนตัว
รวมจำนวนเงินทุน 0.00 บาท
  ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูล จำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด Download
       ดาวน์โหลดไฟล์ บทคัดย่อ อ.ใต้ ลงฐานข้อมูล.pdf
ทั้งหมด 1 รายการ
 
Copyright©Prabormajchannok Instiute of Halth Workforce Development 2009  All rights reserved : Version 7.6